บุคลากรสายสนับสนุน

  1. หัวหน้าสำนักงานคณบดี

 

ปฏิบัติงานหน้าที่ ดังนี้

  1. ตรวจสอบ ประสาน ติดตาม จัดทำ ประเมินผล และรายงานผลการดำเนินงานการจัดทำแผนยุทธศาสตร์,แผนปฏิบัติราชการ
  2. ตรวจสอบ ประสาน ติดตาม ดำเนินงาน การจัดทำแผน กรอบอัตรากำลัง สายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ, แผนพัฒนานักศึกษาด้านภาษาอังกฤษ
  3. รับผิดชอบกำกับดูแล ตรวจสอบ ติดตาม ตอบปัญหา ชี้แจงให้คำปรึกษา ในส่วนงานตามโครงสร้างงานคณะ
  4. ตรวจสอบ ประสานงาน ติดตาม ประเมินผล และการจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน ตามไตรมาสในภาพรวมของคณะ และรายงานผลตามแผนให้ผู้บังคับบัญชา ผู้เกี่ยวข้องทราบ
  5. รับแนวปฏิบัติงานจากผู้บริหาร และร่วมวางแผนการดำเนินงานระบบบริหาร
  6. ควบคุม ดูแล กับกับ ประสานงานกับฝ่าย กลุ่มงานต่าง ๆ และหน่วยงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา เพื่อให้งานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
  7. ร่วมวางแผนงาน และร่วมจัดทำแผนปฏิบัติงานตามพันธกิจคณะ ปฏิทินปฏิบัติงาน และเอกสารต่าง ๆ ในส่วนงานตามโครงสร้างงานของคณะ
  8. เผยแพร่ข่าวสารข้อมูล นโยบาย แนวปฏิบัติ ในส่วนงานตามโครงสร้างงานของคณะแก่บุคลากรสายสนับสนุนในสังกัดทราบ
  9. พิจารณาความดีความชอบของบุคลากรในกลุ่มงานตามโครงสร้างงานของคณะ เพื่อเสนอต่อผู้บังคับบัญชาทราบ (การประเมินผลการปฏิบัติงาน)
  10. รับเรื่อง ตรวจสอบ บรรจุ วาระการประชุมคณะ รวมถึงตรวจสอบความถูกต้องของรายงานการประชุม
  11. กลั่นกรองตรวจสอบเสนอแนะ ให้ข้อมูลเพิ่มเติม เอกสาร บันทึกเพิ่มเติมในเอกสารลงนาม หรือหนังสือราชการภายใน ภายนอก เพื่อเสนอต่อผู้บริหารลงนาม เพื่อทราบ/พิจารณา/สั่งการ
  12. กลั่นกรองความถูกต้องของเอกสาร ลงนามเห็นชอบในเอกสารอนุญาต/อนุมัติ เช่น การลาของบุคลากรสายสนับสนุน การอนุมัติโครงการ การขอใช้ห้อง อาคาร ยืมอุปกรณ์ วัสดุ ครุภัณฑ์ และอื่น ๆ
  13. ประสานงาน และดำเนินการจัดทำข้อมูลแผนปฏิบัติราชการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระดับคณะ และทำรายงาน นำส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  14. ประสานงาน และดำเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน ของหน่วยตรวจสอบภายใน และสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน
  15. ปฏิบัติงานตามคำสั่งคณะฯ มหาวิทยาลัยฯ และตามที่ได้รับมอบหมาย ดังนี้

1) คณะกรรมการ การสรรหา/การเลือกตั้ง ต่าง ๆ ระดับคณะ

2) คณะกรรมการดำเนินงานเกี่ยวกับการสอบคัดเลือกบุคลากร ระดับคณะ

3) คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริง/ข้อร้องเรียน ระดับคณะ

 4) คณะกรรมการประจำคณะ

 5) คณะกรรมการบริหารงานคณะ

6) คณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ ระดับคณะ  

 7) คณะกรรมการดำเนินงานเกี่ยวกับการต่อสัญญาจ้างสายวิชาการ สายสนับสนุนวิชาการ ระดับคณะ    

8) คณะกรรมการดำเนินงานโครงการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน (อำนวยการและดำเนินงาน)

 9) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ระดับมหาวิทยาลัย

10) คณะกรรมการจัดวางระบบควบคุมภายใน ระดับมหาวิทยาลัย

11) คณะกรรมการดำเนินงานพิธีพระราชทานปริญญาบัตร และอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย

 

2 หน่วยบริหารความเสี่ยง และควบคุมภายใน

 

 ปฏิบัติงานหน้าที่ ดังนี้

ตรวจสอบ ประสาน ติดตาม จัดทำ ประเมินผล และรายงานผลการดำเนินงานการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง และควบคุมภายใน ระดับคณะ

 

3 หน่วยแผนงานและงบประมาณ

ดำเนินงานส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำชุดเบิกจ่ายโครงการปกติ และโครงการพิเศษอื่น ๆ ได้แก่

1) ของสาขาวิชาภาษาอังกฤษ งบประมาณแผ่นดิน จำนวน 1 โครงการ (4 กิจกรรม) และงบประมาณเงิน

รายได้ จำนวน 6 โครงการ (9 กิจกรรม)

2) โครงการพัฒนาศักยภาพภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวแก่เยาวชน ประชาชน จังหวัดสกลนคร เพื่อ

รองรับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

3) โครงการอบรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อเตรียมความพร้อมสู่วิชาชีพ สำหรับนักศึกษาคณะ

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

4) โครงการยุติความยากจนทุกรูปแบบในทุกที่โดยสนับสนุนห้องเรียนยุวชนสัมมาชีพเพื่อเพิ่มรายได้แก่

ครัวเรือนและใช้กระบวนการวิศวกรสังคม  

5) โครงการอบรมสื่อของสาขาวิชาสารสนเทศและสื่อดิจิทัล

6) งานพิธีพระราชทานปริญญาบัตร

 

ปฏิบัติงานหน้าที่ ดังนี้

  1. ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำข้อมูล และจัดทำกรอบนโยบายในการจัดคำตั้งของบประมาณตามแนวปฏิบัติของมหาวิทยาลัยกำหนด
  2. วิเคราะห์ ตรวจสอบ และกลั่นกรอง ความเหมาะสมหรือความเป็นไปได้ของแผนงานและโครงการ
  3. ประสานรวบรวม คำขอจัดตั้งงบประมาณประจำปี ดำเนินการลงข้อมูลในระบบบริหารโครงการ และวางแผนค่าใช้จ่ายในระบบบริหารโครงการ
  4. ประสานงาน แจ้งข้อมูล รายละเอียดงบประมาณโครงการให้ ผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องรับทราบ
  5. ประสานงาน ดำเนินการวางแผนการดำเนินกิจกรรม และโครงการ ตามไตรมาสที่กำหนดไว้
  6. การดำเนินกิจกรรมโครงการ รายละเอียดดังนี้

1) ประสานงานพื้นที่ วิทยากร วัน เวลา สถานที่ และในส่วนที่เกี่ยวข้อง

2) บันทึกขออนุมัติดำเนินกิจกรรม โครงการ ขออนุญาตเดินทางไปราชการและยืมเงินทดรองจ่าย

3) ทำเอกสารที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ หนังสือเชิญวิทยากร หนังสือขอความอนุเคราะห์ใช้สถานที่ ขออนุญาตใช้รถยนต์ คำสั่ง ประกาศ ฯลฯ

4) ประสานงาน ควบคุม ดูแล กระบวนการดำเนินกิจกรรมและโครงการ ร่วมกับผู้รับผิดชอบโครงการ
5) จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน และผลการการใช้จ่ายเงินงบประมาณ เงินนอก

งบประมาณในระบบบริหารโครงการแบบรูปแบบ ฉบับย่อ ฉบับสมบูรณ์ และในระบบบริหารโครงการตามไตรมาส

7) ประสาน รวบรวม รายงานการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม จัดทำการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปี และรายงานผลในระบบบริหารโครงการ รวมถึงนำส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

8) รายงานผลการดำเนินกิจกรรม โครงการ และผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี ให้ผู้บริหาร และผู้รับผิดชอบโครงการทราบ เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผน และดำเนินการของหน่วยงาน

9) วิเคราะห์ ทบทวน รวบรวมและจัดทำแผนปฏิบัติงาน

10) ตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานตามมแผนให้ผู้บังคับบัญชาและผู้เกี่ยวข้องทราบ

11) หน่วยการเงินและพัสดุ

ปฏิบัติงานหน้าที่ ดังนี้

  1. ประสานงาน จัดเตรียมเอกสาร ดำเนินงานส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำชุดเบิกจ่ายทุกกิจกรรมโครงการตามแผนงานและงบประมาณ (หน่วยที่ 3)
  2. รวบรวมเอกสาร หลักฐานทางการเงิน พัสดุ และตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร ทั้งงบประมาณเงินรายได้และงบประมาณแผ่นดิน
  3. จัดทำชุดเบิกจ่ายกิจกรรมโครงการ ได้แก่

                    1) ประสานงานสร้างข้อมูลหลักผู้ขายในระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) และนำส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                    2) บันทึกใบสั่งซื้อในระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)

                    3) จองเลขที่หนังสือระบบจองเลขที่ชุดเบิกจ่ายงบประมาณ

                    4) จัดทำชุดเบิกในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (EG-P)

                    5) จัดทำชุดเบิกในระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)

                    6) จัดทำชุดเบิกในระบบบริหารงบประมาณ (Finance Project)

                    7) จัดทำข้อมูลและลงระบบบริหารงานวัสดุและระบบครุภัณฑ์

                    8) ดำเนินการ เสนอผู้มีอำนาจอนุมัติ และนำส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามลำดับขั้นตอน

                    9) ติดตาม ตรวจสอบ สถานการณ์เบิกจ่าย และรายงานผลผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ

                    10) จัดเก็บเอกสาร ลงในระบบ ประสานงาน และบริการสืบค้นข้อมูลการเบิกจ่าย

  1. ควบคุม ดูแล ประสานงาน การจัดหาตรวจสอบ เบิก-จ่าย และดำเนินงานส่วนที่เกี่ยวข้องกับวัสดุของหน่วยงานดูแล ตรวจสอบ ติดตาม ตอบปัญหา ชี้แจงให้คำปรึกษา ในส่วนงานตามโครงสร้างงานของคณะ

3. ตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงาน ตามแผนให้ผู้บังคับบัญชาและผู้เกี่ยวข้องทราบ 4. รับแนวปฏิบัติงานจากผู้บริหาร และร่วมวางแผนการดำเนินงานระบบบริหาร

5. ควบคุม ดูแล กับกับ ประสานงานกับฝ่าย กลุ่มงานต่าง ๆ และหน่วยงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา เพื่อให้งานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

6. ร่วมวางแผนงาน และร่วมจัดทำแผนปฏิบัติงานตามพันธกิจคณะ ปฏิทินปฏิบัติงาน แบบพิมพ์ และเอกสารต่าง ๆ ในส่วนงานตามโครงสร้างงานของคณะ

7. เผยแพร่ข่าวสารข้อมูล นโยบาย แนวปฏิบัติ ในส่วนงานตามโครงสร้างงานของคณะแก่บุคลากรสายสนับสนุนในสังกัดทราบ

8. พิจารณาความดีความชอบของบุคลากรในกลุ่มงานตามโครงสร้างงานของคณะ เพื่อเสนอต่อผู้บังคับบัญชาทราบ (การประเมินผลการปฏิบัติงาน)

9. รับเรื่อง ตรวจสอบ บรรจุ วาระการประชุมคณะ รวมถึงตรวจสอบความถูกต้องของรายงานการประชุม

10. กลั่นกรองตรวจสอบเสนอแนะ ให้ข้อมูลเพิ่มเติม เอกสาร บันทึกเพิ่มเติมในเอกสารลงนาม หรือหนังสือราชการภายใน ภายนอก เพื่อเสนอต่อผู้บริหารลงนาม เพื่อทราบ/พิจารณา/สั่งการ

11. กลั่นกรองความถูกต้องของเอกสาร ลงนามเห็นชอบในเอกสารอนุญาต/อนุมัติ เช่น การลาของบุคลากรสายสนับสนุน การอนุมัติโครงการ การขอใช้ห้อง อาคาร ยืมอุปกรณ์ และอื่น ๆ

12. ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำข้อมูล และจัดทำกรอบนโยบายในการจัดคำตั้งของบประมาณตามแนวปฏิบัติ ของมหาวิทยาลัยกำหนด

13. วิเคราะห์ ตรวจสอบ และกลั่นกรอง ความเหมาะสมหรือความเป็นไปได้ของแผนงานและโครงการ

14. ประสานรวบรวม คำขอจัดตั้งงบประมาณประจำปี ดำเนินการลงข้อมูลในระบบบริหารโครงการ และวางแผนค่าใช้จ่ายในระบบบริหารโครงการ

15. ประสานงาน แจ้งข้อมูล รายละเอียดงบประมาณโครงการให้ ผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องรับทราบ

16. ประสานงาน ดำเนินการวางแผนการดำเนินกิจกรรม และโครงการ ตามไตรมาสที่กำหนดไว้

17. การดำเนินกิจกรรมโครงการ ได้แก่ 1) ประสานพื้นที่ วิทยากร วัน เวลา สถานที่ และในส่วนที่เกี่ยวข้อง 2) บันทึกขออนุมัติดำเนินกิจกรรม โครงการ ขออนุญาตเดินทางไปราชการและยืมเงินทดรองจ่าย 3) ทำเอกสารที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ หนังสือเชิญวิทยากร หนังสือขอความอนุเคราะห์ใช้สถานที่ ขออนุญาตใช้รถยนต์ คำสั่ง ประกาศ ฯลฯ 4) ประสานงาน ควบคุม ดูแล กระบวนการดำเนินกิจกรรมและโครงการ ร่วมกับผู้รับผิดชอบโครงการ 5) จัดทำรายงานผลการดำเนินงานและผลการการใช้จ่ายเงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ ในระบบบริหารโครงการแบบรูปแบบ ฉบับย่อ ฉบับสมบูรณ์ และในระบบตามไตรมาส

18. ประสาน รวบรวม รายงานการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม จัดทำการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปี และรายงานผลในระบบบริหารโครงการ รวมถึงนำส่งหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง

19. รายงานผลการดำเนินกิจกรรม โครงการ และผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี ให้ผู้บริหาร และผู้รับผิดชอบโครงการทราบ เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผน และดำเนินการของหน่วยงาน

20. วิเคราะห์ ทบทวน รวบรวมและจัดทำแผนปฏิบัติงาน

21. ตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานตามมแผนให้ผู้บังคับบัญชาและผู้เกี่ยวข้องทราบ

22. ประสานงาน จัดเตรียมเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเบิกจ่ายงบประมาณ โครงการของสาขาวิชาภาษาอังกฤษ และโครงการพิเศษอื่น ๆ ได้แก่ โครงการบริการวิชาการ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ โครงการอบรมภาษาอังกฤษของคณะ โครงการศาสตร์พระราชา โครงการอบรมสื่อของสาขาวิชาสารสนเทศและสื่อดิจิทัล โครงการ ยุติความยากจน ทุกรูปแบบในทุกที่โดยสนับสนุนห้องเรียนยุวชนสัมมาชีพเพื่อเพิ่มรายได้แก่ครัวเรือนและใช้กระบวนการวิศวกรสังคม และงานพิธีพระราชทานปริญญาบัตร

23. รวบรวมเอกสารและตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร ทั้งงบประมาณเงินรายได้และงบประมาณแผ่นดิน 24. จัดทำชุดเบิกกิจกรรมโครงการ ได้แก่ 1) ประสานงานสร้างข้อมูลหลักผู้ขายในระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) และนำส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2) บันทึกใบสั่งซื้อในระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) 3) จองเลขที่หนังสือระบบจองเลขที่ชุดเบิกจ่ายงบประมาณ 4) จัดทำชุดเบิกในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (EG-P) 5) จัดทำชุดเบิกในระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) 6) จัดทำชุดเบิกในระบบบริหารงบประมาณ (Finance Project) 7) จัดทำข้อมูลและลงระบบบริหารงานวัสดุและระบบครุภัณฑ์ 8) ดำเนินการ เสนอผู้มีอำนาจอนุมัติ และนำส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามลำดับขั้นตอน 9) ติดตาม ตรวจสอบ สถานะของการเบิกจ่าย และรายงานผลผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ 10) จัดเก็บเอกสาร ลงในระบบ ประสานงาน และบริการสืบค้นข้อมูลการเบิกจ่าย

25. ควบคุม ดูแล ประสานงาน การจัดหาตรวจสอบ เบิก-จ่าย และดำเนินงานส่วนที่เกี่ยวข้องกับวัสดุของหน่วยงาน

26. ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้มอบหมาย เช่น งานพิธีพระราชทานปริญญาบัตร /งานที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย หรือ งานตามคำสั่ง/ตามโครงสร้างคณะ ฯลฯ

โทร 095-6504501

  1. หน่วยบริหารบุคลากร

1.1   จัดทำและตรวจสอบทะเบียนลงเวลาปฏิบัติราชการ

1.2   ประสาน ติดตาม ดำเนินการเกี่ยวกับการจ้างบุคลากร

1.3   ประสาน ติดตาม การประเมินเพื่อต่อสัญญาจ้างบุคลากร พนักงานในสถาบันอุดมศึกษา และลูกจ้างชั่วคราวรายเดือน ทั้งสายวิชาการ และสายสนับสนุนวิชาการ

1.4   ประสาน ติดตาม รวบรวมการประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ปม.1-ปม.3) ของบุคลากรเพื่อเลื่อนเงินเดือนค่าจ้างของข้าราชการ พนักงานในสถาบันอุดมศึกษา และลูกจ้างชั่วคราวรายเดือน ทั้งสายวิชาการ และสายสนับสนุนวิชาการ

1.5   จัดทำเอกสารไปราชการ พร้อมการรักษาราชการแทนของผู้บริหาร

1.6   การประสานงานดูแลอาจารย์ชาวต่างชาติ

1.7   การจัดทำเอกสารเบิกจ่ายค่าสวัสดิการบุคลากร

1.8   การโอนย้ายบุคลากร

1.9   การดำเนินการเกี่ยวกับการลา ลาศึกษาต่อ ลาคลอด ลากิจ ลาป่วย ลาไปต่างประเทศ และอื่น ๆ

1.10   การขออนุญาตไปราชการในและนอกประเทศ

1.11   การประสานงานด้านปรับวุฒิ/เพิ่มวุฒิ ขอตำแหน่งทางวิชาการ

1.12   ดำเนินงานเกี่ยวกับการร้องเรียนการทุจริต และดำเนินงานเกี่ยวกับการสอบสวนทางวินัย

1.13   ดำเนินการเกี่ยวกับการแต่งตั้งคณะกรรมการต่าง ๆ

1.14   ดำเนินงานเกี่ยวกับการสรรหา การเลือกตั้งต่าง ๆ

1.15   จัดทำทะเบียนบุคลากร และบริการสืบค้นข้อมูลบุคลากร  

1.16   ประสานงานสำรวจข้อมูลสวัสดิการต่าง ๆ ของบุคลากร (งานพระราชทานปริญญาบัตร/งานกีฬาบุคลากร)

1.17   ดูแล ประสานงาน ดำเนินการกิจกรรมพัฒนาศักยภาพบุลากร กิจกรรมนันทนาการ งานกีฬาและส่งเสริมสุขภาพบุคลากร เพื่อส่งเสริมความสามัคคี

1.18   จัดทำแผนพัฒนาบุคลากร

1.19   ประสาน ติดตาม การจัดทำแผนกรอบอัตรากำลัง สายสนับสนุนวิชาการ

1.20   ประสาน ติดตาม การจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร

  1. ภาระงานเพิ่มเติม

2.1   ดูแลกิจกรรมกิจกรรม/โครงการ 3 โครงการ 1) โครงการบริหารจัดการ สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ

       2) โครงการบริการวิชาการบ้านประชาสุขสันต์ และ 3) โครงการศาสตร์พระราชา (คู่กับคุณอุทุมพร สุระศักดิ์)

  1. ภาระงานอื่น ๆ

3.1  ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้มอบหมาย เช่น งานพิธีพระราชทานปริญญาบัตร/งานที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย

                  หรืองานตามคำสั่ง/ตามโครงสร้างคณะ

โทร. 0807837595

หัวหน้างานบริหารทั่วไป ปฏิบัติหน้าที่ ดังนี้

1.1 ตรวจสอบ ประสาน ติดตาม จัดทำ ประเมินผล และรายงานผลการดำเนินงานการจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน

1.2 ควบคุม กำกับ ดูแล ติดตามการดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

1.3 ตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงาน ตามแผนกลยุทธ์ทางการเงิน

ให้ผู้บังคับบัญชาและผู้เกี่ยวข้องทราบ

1.4 รับแนวปฏิบัติงานบริหารทั่วไป จากผู้บริหาร เพื่อกำกับ ดูแล ติดตาม ให้คำปรึกษา ในสายงานที่รับผิดชอบ
1.5 ประสานงานกับฝ่าย กลุ่มงานต่าง ๆ และหน่วยงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา เพื่อให้งานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
1.6 ร่วมจัดทำแผนปฏิบัติงานตามพันธกิจของคณะ ได้แก่ แผนปฏิบัติงาน ปฏิทินปฏิบัติงาน แบบพิมพ์ และเอกสารต่าง ๆ ของกลุ่มบริหารทั่วไป
1.7 เผยแพร่ข่าวสารข้อมูล นโยบาย แนวปฏิบัติ ทางด้านบริหารทั่วไป แก่เจ้าหน้าที่ประจำหน่วยทราบ

1.8 ปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย

 

เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปปฏิบัติการ ปฏิบัติหน้าที่ ดังนี้

  1. หน่วยแผนงานและงบประมาณ ปฏิบัติหน้าที่ ดังนี้

1.1 ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำข้อมูล และจัดทำกรอบนโยบายในการจัดคำตั้งของบประมาณตามแนวปฏิบัติของมหาวิทยาลัยกำหนด
1.2 วิเคราะห์  ตรวจสอบ และกลั่นกรอง ความเหมาะสมหรือความเป็นไปได้ของแผนงานและโครงการ

1.3 ประสานรวบรวม คำขอจัดตั้งงบประมาณประจำปี ดำเนินการลงข้อมูลในระบบบริหารโครงการ และวางแผนค่าใช้จ่ายในระบบบริหารโครงการ

1.4 ประสานงาน แจ้งข้อมูล รายละเอียดงบประมาณโครงการให้ ผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องรับทราบ

1.5 ประสานงาน ดำเนินการวางแผนการดำเนินกิจกรรม และโครงการ ตามไตรมาสที่กำหนดไว้

1.6 การดำเนินกิจกรรมโครงการ รายละเอียดดังนี้

1) ประสานพื้นที่ วิทยากร วัน เวลา สถานที่ และในส่วนที่เกี่ยวข้อง

2) บันทึกขออนุมัติดำเนินกิจกรรม/โครงการ เดินทางไปราชการและยืมเงินทดรองจ่าย

 3) ทำเอกสารที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ หนังสือเชิญวิทยากร หนังสือขอความอนุเคราะห์ใช้สถานที่

ขออนุญาตใช้รถยนต์  คำสั่ง ประกาศ ฯลฯ

4) ประสานงาน ควบคุม ดูแล กระบวนการดำเนินกิจกรรมและโครงการ ร่วมกับผู้รับผิดชอบ

โครงการ
5) จัดทำรายงานผลการดำเนินงานและผลการการใช้จ่ายเงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ ใน

ระบบบริหารโครงการแบบรูปแบบ ฉบับย่อ ฉบับสมบูรณ์ และในระบบตามไตรมาส

1.7 ประสาน รวบรวม รายงานการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม จัดทำการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปี และรายงานผลในระบบบริหารโครงการ รวมถึงนำส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

1.8 รายงานผลการดำเนินกิจกรรม โครงการ และผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี ให้ผู้บริหาร และผู้รับผิดชอบโครงการทราบ เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผน และดำเนินการของหน่วยงาน

1.9 วิเคราะห์ ทบทวน รวบรวมและจัดทำแผนงาน ได้แก่ แผนการจัดการความรู้ แผนลงทุน ครุภัณฑ์ การก่อสร้างระดับคณะ และแผนปฏิบัติงานกิจกรรม/โครงการ

1.10 วิเคราะห์ ทบทวน รวบรวมและจัดทำแผนลงทุน ครุภัณฑ์ การก่อสร้าง

1.11 ตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงาน ตามแผนให้ผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องทราบ

 

  1. หน่วยการเงินและพัสดุ ปฏิบัติหน้าที่ ดังนี้

          2.1 ประสานงาน จัดเตรียมเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเบิกจ่ายงบประมาณ โครงการของสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ และสาขาวิชาภาษาจีน และโครงการพิเศษอื่น ๆ ได้แก่ โครงการบริการวิชาการ สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจธุรกิจ และโครงการบริการวิชาการสาขาวิชาภาษาจีน

          2.2 รวบรวมเอกสารและตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร ทั้งงบประมาณเงินรายได้และงบประมาณแผ่นดิน

         2.3 จัดทำชุดเบิกกิจกรรมโครงการ

          1) ประสานงานสร้างข้อมูลหลักผู้ขายในระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) และนำส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                   2) บันทึกใบสั่งซื้อในระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)

                   3) จองเลขที่หนังสือระบบจองเลขที่ชุดเบิกจ่ายงบประมาณ

                   4) จัดทำชุดเบิกในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (EG-P)

                   5) จัดทำชุดเบิกในระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)

                   6) จัดทำชุดเบิกในระบบบริหารงบประมาณ (Finance Project)

                   7) จัดทำข้อมูลและลงระบบบริหารงานวัสดุและระบบครุภัณฑ์

                   8) ดำเนินการ เสนอผู้มีอำนาจอนุมัติ และนำส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามลำดับขั้นตอน

                   9) ติดตาม ตรวจสอบ สถานการณ์เบิกจ่าย และรายงานผลผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ

                   10) จัดเก็บเอกสาร ลงในระบบ ประสานงาน และบริการสืบค้นข้อมูลการเบิกจ่าย

2.4 ควบคุม ดูแล ประสานงาน การจัดหาตรวจสอบ เบิก-จ่าย และดำเนินงานส่วนที่เกี่ยวข้องกับวัสดุของหน่วยงาน 

 

ภาระงานเพิ่มเติม  ปฏิบัติหน้าที่ ดังนี้

ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้มอบหมาย เช่น งานพิธีพระราชทานปริญญาบัตร /งานที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย /งานตามคำสั่ง/ตามโครงสร้างคณะ

โทรศัพท์ 08-16612746

FB : Vitchaya Treesokprapruet

  1. หน่วยแผนงานและงบประมาณ ปฏิบัติหน้าที่ ดังนี้

          1.1 ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำข้อมูล และจัดทำกรอบนโยบายในการจัดทำคำตั้งงบประมาณตามแนวปฏิบัติของมหาวิทยาลัยกำหนด

          1.2 วิเคราะห์ ตรวจสอบ และกลั่นกรอง ความเหมาะสมหรือความเป็นไปได้ของแผนงานและโครงการ

          1.3 ประสานรวบรวม คำขอจัดตั้งงบประมาณประจำปี ดำเนินการลงข้อมูลในระบบบริหารโครงการ และวางแผนค่าใช้จ่ายในระบบบริหารโครงการ

          1.4 ประสานงาน แจ้งข้อมูล รายละเอียดงบประมาณโครงการให้ ผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องรับทราบ

          1.5 ประสานงาน ดำเนินการวางแผนการดำเนินกิจกรรม และโครงการ ตามไตรมาสที่กำหนดไว้

          1.6 การดำเนินกิจกรรมโครงการ รายละเอียดดังนี้

                   1) ประสานพื้นที่ วิทยากร วัน เวลา สถานที่ และในส่วนที่เกี่ยวข้อง

                   2) บันทึกขออนุมัติดำเนินกิจกรรม โครงการ ขออนุญาตเดินทางไปราชการ และยืมเงินทดรองจ่าย

                   3) ทำเอกสารที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ หนังสือเชิญวิทยากร หนังสือขอความอนุเคราะห์ใช้สถานที่ ขออนุญาตใช้รถยนต์ คำสั่ง ประกาศ ฯลฯ

                   4) ประสานงาน ควบคุม ดูแล กระบวนการดำเนินกิจกรรมและโครงการ ร่วมกับผู้รับผิดชอบโครงการ

                   5) จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน และผลการการใช้จ่ายเงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณในระบบบริหารโครงการแบบรูปแบบ ฉบับย่อ ฉบับสมบูรณ์ และในระบบตามไตรมาส

          1.7 ประสาน รวบรวม รายงานการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม จัดทำการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปี และรายงานผลในระบบบริหารโครงการ รวมถึงนำส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                                                                                                                             1.8 รายงานผล…

 

          1.8 รายงานผลการดำเนินกิจกรรม โครงการ และผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี ให้ผู้บริหาร และผู้รับผิดชอบโครงการทราบ เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผน และดำเนินการของหน่วยงาน

          1.9 วิเคราะห์ ทบทวน รวบรวมและจัดทำแผนปฏิบัติงาน

          1.10 ตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานตามแผนให้ผู้บังคับบัญชา และผู้เกี่ยวข้องทราบ

 

  1. หน่วยการเงินและพัสดุ ปฏิบัติหน้าที่ ดังนี้ (กิจกรรม/โครงการพิเศษ อื่น ๆ สาขาวิชานิติศาสตร์)

          2.1 ประสานงาน จัดเตรียมเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเบิกจ่ายงบประมาณ

          2.2 รวบรวมเอกสารและตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร ทั้งงบประมาณเงินรายได้ และงบประมาณแผ่นดิน

          2.3 จัดทำชุดเบิกกิจกรรม โครงการสาขาวิชานิติศาสตร์

                             1) ประสานงานสร้างข้อมูลหลักผู้ขายในระบบอิเล็กทรอนิกส์ GFMIS และนำส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                             2) บันทึกใบสั่งซื้อในระบบอิเล็กทรอนิกส์ GFMIS

                             3) จองเลขที่หนังสือระบบจองเลขที่ชุดเบิกจ่ยงบประมาณ

                             4) จัดทำชุดเบิกในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (EG-P)

                             5) จัดทำชุดเบิกในระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)

                             6) จัดทำชุดเบิกในระบบบริหารงบประมาณ (Finance Project)

                             7) จัดทำข้อมูลและลงระบบบริหารงานวัสดุและระบบครุภัณฑ์

                             8) ดำเนินการ เสนอผู้มีอำนาจอนุมัติ และนำส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามลำดับขั้นตอน

                             9) ติดตาม ตรวจสอบ สถานการณ์เบิกจ่าย และรายงานผลผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ

                             10) จัดเก็บเอกสาร ลงในระบบ ประสานงาน และบริการสืบค้นข้อมูลการเบิกจ่าย

          2.4 ควบคุม ดูแล ประสานงาน การจัดหาตรวจสอบ ยืม คืน แจ้งซ่อม เบิก – จ่าย  และดำเนินงานส่วนที่เกี่ยวข้องกับพัสดุ ครุภัณฑ์ของสำนักงานคณบดี

          2.5 ประสานงาน การดำเนินงานการตรวจสอบพัสดุประจำปี และการสอบข้อเท็จจริง

          2.6 จัดทำชุดเบิกค่าสอนอาจารย์พิเศษรายชั่วโมง ภาคปกติ และภาคกศ.ป. (เฉพาะของสาขาวิชานิติศาสตร์) ได้แก่จัดทำบันทึกเพื่อขอคำสั่งจ้างจากมหาวิทยาลัยฯ อาจารย์พิเศษรายชั่วโมงในแต่ละภาคการศึกษา เพื่อใช้คำสั่งแนบชุดเบิกค่าสอนภาคปกติ โดยจัดทำชุดเบิกทุก ๆ สิ้นเดือน (จำนวน 4 เดือน) เมื่อครบกำหนดจ้างของปีการศึกษานั้น ๆ แล้ว จัดทำคำสั่งจ้างของปีถัดไป และจัดทำชุดเบิกค่าสอนภาคกศ.ป. ตามประกาศของมหาวิทยาลัยฯ (จำนวน 4 งวด)

          2.7 จัดทำชุดเบิกค่าตอบแทนอาจารย์ที่ปรึกษา ภาคกศ.ป. ทุกภาคปีการศึกษา (ระดับคณะมนุษย์ฯ ทุกสาขาวิชา ทีมีการเรียนการสอนภาคเสาร์ – อาทิตย์ เช่น สาขาวิชานิติศาสตร์, สาขาวิชารัฐศาสตร์, สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ, สาขาวิชาภาษาไทย ฯลฯ เป็นต้น)

         

 

 

                                                                                                                                     ภาระงาน…

 

 

ภาระงานเพิ่มเติม ปฏิบัติหน้าที่ ดังนี้

  1. หน่วยธุรการและงานสารบรรณ (สาขาวิชานิติศาสตร์)

          1.1 ร่าง พิมพ์ ตรวจสอบ และจัดทำหนังสือราชการ ขอเลขที่หนังสือราชการ พร้อมแนบหนังสือในระบบ http://edochms.snru.as.th/login ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

          1.2 รับ – ส่ง  หนังสือราชการ

          1.3 จัดเก็บเอกสาร

          1.4 งานติดต่อประสานงานทั้งหน่วยงานภายใน – ภายนอก งานติดตาม เดินเอกสารเสนอแฟ้มต่อผู้บริหารเพื่อลงนามตามขั้นตอน

          1.5 งานดูแลความเรียบร้อยของสาขาวิชานิติศาสตร์

          1.6 ประสาน รวบรวมข้อมูล ข่าวสารประชาสัมพันธ์ สำเนาเอกสาร เพื่อติดประกาศ ประชาสัมพันธ์ทางบอร์ดประชาสัมพันธ์ของสาขาวิชานิติศาสตร์     

          1.7 อำนวยความสะดวกแก่ผู้มาติดต่อประสานงาน ให้ข้อมูลประสานงานอาจารย์ รวมถึงบริการต่าง ๆ ตามที่ผู้มารับบริการร้องขอ

 

  1. หน่วยส่งเสริมวิชาการ และบัณฑิตศึกษา (สาขาวิชานิติศาสตร์ทั้งภาคปกติ และภาคกศ.ป)

          2.1 ดูแล ประสาน ติดตาม งานหลักสูตร

          2.2 ดูแล ประสาน ติดตาม แผนการเรียน

.3 อำนวยความสะดวก ประสานงานด้านการสนับสนุนการเรียนการสอน จัดทำรายงานผลการส่งเกรด ติดตามผลการเรียน,การแก้ไขผลการเรียน เป็นต้น

2.4 ประสานและจัดกิจกรรมสอบแก้ตัวสำหรับนักศึกษาสาขาวิชานิติศาสตร์ที่มีผลการเรียนเป็น F ในแต่ละภาคปีการศึกษา และมอบหมายให้อาจารย์ออกข้อสอบวัดและประเมินผลการสอบแก้ตัวทั้งภาคปกติ และภาคกศป. (ประกาศสอบแก้ตัว, พิมพ์รายชื่อนักศึกษาที่มีผลการเรียนเป็น F ในสาขาวิชากฎหมาย, มอบหมายให้อาจารย์ออกข้อสอบ สอบวัดความรู้และประเมินผลการสอบแก้ตัว, จัดทำตารางสอบแก้ตัว, แจ้งอาจารย์ผู้สอนทราบ และแจ้งให้นักศึกษาสามารถเขียนแบบฟอร์ม พร้อมยื่นคำร้องสอบแก้ตัวได้) นักศึกษาสาขาวิชานิติศาสตร์ที่ยื่นคำร้องขอสอบแก้ตัวกับทางสาขาวิชาฯ เท่านั้นที่มีสิทธิสอบแก้ตัวได้

2.5 ส่งเสริม สนับสนุนการศึกษาเกี่ยวกับการเรียนการสอนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บริการงานด้าน กระบวนการเรียนการสอน แผนการเรียน เปิดพิเศษ (กรณีนศ.ติด F ซ้ำซ้อน/พักการเรียน/อื่น ๆ) ขอเพิ่มรายวิชาเรียน ขั้นตอนการขอเทียบโอนรายวิชาเรียน การขอยกเว้นรายวิชาเรียน ให้คำแนะนำด้านการศึกษาสำหรับนักศึกษาสาขาวิชานิติศาสตร์ ทั้งภาคปกติ และ ภาคกศป.       เป็นต้น

 

  1. หน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สำหรับนักศึกษาสาขาวิชานิติศาสตร์ภาคปกติ และภาคกศ.ป

          3.1 รายวิชาเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพนักกฎหมาย (รายวิชาเก็บชั่วโมง)

                    1) ติดตาม ประสานงานระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร

                   2) จัดทำเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ประกอบไปด้วย

                             2.1) แบบฟอร์มข้อมูลเกี่ยวกับนักศึกษาและสถานที่ฝึกงาน (ติดรูปถ่าย 1 นิ้ว จำนวน 1 รูป, สำเนาบัตรนักศึกษา 1 แผ่น/รับรองสำเนาถูกต้อง)

 

                                                                                                                              2.2) บันทึกขอ…

 

                             2.2) บันทึกขอความอนุเคราะห์รับนักศึกษาเข้าเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพนักกฎหมาย (แนบแบบตอบรับจากหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร, แนบตารางเรียนนักศึกษา)

                             2.3) คู่มือการเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพกฎหมาย (แบบบันทึกการปฏิบัติงานแต่ละวัน)

                             2.4) แบบประเมินผล ฯลฯ

                   3) จัดกำหนดการดำเนินการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (ระยะเวลาในการเก็บชั่วโมง จำนวน 210 ชั่วโมง)

                   4) ประสานและจัดประชุม อบรม ปฐมนิเทศ และสัมมนา ตามที่สาขาวิชาฯ กำหนดไว้ ซึ่งเป็นการเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพนักกฎหมาย – ระหว่างฝึกประสบการณ์ – หลังการฝึกประสบการณ์เรียบร้อย

                             4.1) ปฐมนิเทศ อบรมสัมมนา ให้แก่นักศึกษาก่อนเริ่มเข้ารับการฝึกประสบการณ์ เพื่อชี้แจงให้นักศึกษาทราบถึงลักษณะงาน ระเบียบหรือข้อปฏิบัติต่าง ๆ ที่นักศึกษาต้องยึดถือปฏิบัติ, การวางตัวในสถานที่ทำงาน, กิริยามารยาท, การแต่งกายของนักศึกษา ฯลฯ เป็นต้น

                   5) ติดตามผลการฝึกปฏิบัติงานและควบคุมความประพฤติของนักศึกษา เพื่อรับทราบถึงพฤติกรรมต่าง ๆ ของนักศึกษา ข้อเสนอแนะต่าง ๆ จากหน่วยงาน รวมทั้งช่วยแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น

                   6) เก็บรวบรวมผลการประเมินนักศึกษาจากหน่วยงานต่างๆ รวบรวมคะแนนจากการเข้าร่วมอบรม กิจกรรมต่าง ๆ จากสาขาวิชากำหนดไว้ รวบรวมข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับการฝึกประสบการณ์ หาแนวทางพัฒนาการเตรียมฝึกประสบการณ์ฯ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

                   7) หลักเกณฑ์การประเมินผล รวม 100 คะแนน นักศึกษาต้องได้ระดับคะแนน 60 คะแนนขึ้นไปจึงจะผ่านวิชาเตรียมฝึกปรสบการณ์วิชาชีพนักกฎหมาย (ไม่ตำกว่า C)

                             คะแนนจากหน่วยงานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ                  50      คะแนน

                             คะแนนจากโปรแกรมวิชา (การเข้าอบรม,กิจกรรมต่างๆ)       50      คะแนน

** (กรณีนักศึกษาภาคกศ.ป ยกเว้นให้เตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพนักกฎหมายในหน่วยงานที่นักศึกษาปฏิบัติงานอยู่ประจำได้)

         

          3.2 รายวิชาออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพนักกฎหมาย

                   1) ติดตาม ประสานงานระหว่างหน่วยงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพนักกฎหมาย (สาขาวิชา + หน่วยงานราชการ)

                   2) จัดทำเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ประกอบไปด้วย

                             2.1) แบบฟอร์มข้อมูลเกี่ยวกับนักศึกษาและสถานที่ฝึกงาน (ติดรูปถ่าย 1 นิ้ว จำนวน 1 รูป, สำเนาบัตรนักศึกษา 1 แผ่น/รับรองสำเนาถูกต้อง, สำเนาบัตรประชาชน/รับรองสำเนาถูกต้อง)

                             2.2) บันทึกขอความอนุเคราะห์รับนักศึกษาเข้ารับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพนักกฎหมาย (แนบแบบตอบรับจากหน่วยงาน, แนบข้อมูลเกี่ยวกับนักศึกษาฝึกงาน) และจัดทำหนังสือส่งตัวนักศึกษาเข้ารับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพนักกฎหมาย

                             2.3) คู่มือการออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพกฎหมาย (แบบบันทึกการปฏิบัติงานแต่ละวัน)

                             2.4) แบบประเมินผล ฯลฯ

                   3) จัดกำหนดการดำเนินการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ไม่น้อยกว่า 450 ชั่วโมง)

                   4) ประสานและจัดประชุม อบรม ปฐมนิเทศ และสัมมนา ตามที่สาขาวิชาฯ กำหนดไว้ ซึ่งเป็นการเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพนักกฎหมาย – ระหว่างฝึกประสบการณ์ – หลังการฝึกประสบการณ์เรียบร้อย                                      4.1) ปฐมนิเทศ ให้แก่นักศึกษาก่อนเริ่มเข้ารับการฝึกประสบการณ์ เพื่อชี้แจงให้นักศึกษาทราบถึงลักษณะงาน ระเบียบหรือข้อปฏิบัติต่าง ๆ ที่นักศึกษาต้องยึดถือปฏิบัติ, กิริยามารยาท, การแต่งกายของนักศึกษา ฯลฯ เป็นต้น

                                                                                                                             5) ติดตามผล…

 

                   5) ติดตามผลการฝึกปฏิบัติงานและควบคุมความประพฤติของนักศึกษา เพื่อรับทราบถึงพฤติกรรมต่าง ๆ ของนักศึกษา ข้อเสนอแนะต่าง ๆ จากหน่วยงาน รวมทั้งช่วยแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น

                   6) เก็บรวบรวมผลการประเมินนักศึกษาจากหน่วยงานต่างๆ, เก็บรวบรวมภาคนิพนธ์ (ตรวจรูปเล่ม รูปแบบการจัดทำภาคนิพนธ์ คำถูก-ผิด เป็นต้น) รวบรวมข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับการฝึกประสบการณ์ หาแนวทางพัฒนาการเตรียมฝึกประสบการณ์ฯ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น พร้อมกรอกเกรดการวัดการประเมินผลในระบบบริหารการศึกษา

                   7) หลักเกณฑ์การประเมินผล รวม 100 คะแนน นักศึกษาต้องได้ระดับคะแนน 60 คะแนนขึ้นไปจึงจะผ่านวิชาเตรียมฝึกปรสบการณ์วิชาชีพนักกฎหมาย (ไม่ตำกว่า C)

                             คะแนนจากหน่วยงานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ                50      คะแนน

                             คะแนนจากการทำเล่มภาคนิพนธ์                                    50      คะแนน

         

  1. หน่วยฝึกอบรม (งานแนะแนวสาขาวิชานิติศาสตร์)

          4.1 ประสานงาน ดูแล กำกับ ติดตาม การดำเนินกิจกรรมการแนะแนวการศึกษา

          4.2 งานบริการ อำนวยความสะดวกการจัดเตรียมพื้นที่ อุปกรณ์สารสนเทศ เพื่อใช้สำหรับการแนะแนวนักเรียน (ลงพื้นที่)

 

  1. หน่วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ (ห้องสมุดนิติศาสตร์/ห้องคลินิกกฎหมาย อาคาร 3 ชั้น 2)

          5.1 งานบริการ ดูแล ควบคุม อำนวยความสะดวก (ยืม-คืน หนังสือกฎหมาย)

 

          ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น งานพระราชทานปริญญาบัตร / งานที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย หรือ งานตามคำสั่ง / ตามโครงสร้างคณะ

 

  1. ระบบที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน ดังนี้

          4.1 ระบบจัดซื้อจัดจ้าง (EGP) http://www.gprocurement.go.th/

          4.2 ระบบบริหารงบประมาณ (Finance Project) โปรแกรมจัดการชุดเบิกหน่วยงาน

          4.3 ระบบบริหารพัสดุ (ครุภัณฑ์) http://asset.snru.ac.th/

          4.4 ระบบบริหารงานเพื่อการควบคุมวัสดุ (วัสดุ) http://mtl.snru.ac.th/

          4.5 ระบบจองเลขที่ชุดเบิกจ่ายงบประมาณ https://isinvent.snru.ac.th/probbs/login

          4.6 ระบบจองเลขที่หนังสือ ภายนอก/ภายใน https://edochms.snru.ac.th/bookhms/login

          4.7 ระบบบริหารงานที่เกี่ยวข้องกับอาจารย์และนักศึกษานิติศาสตร์

https://connect.snru.ac.th/login_new.aspx

โทร

  1. วางแผนโครงการ ขออนุมัติโครงการกิจกรรม จัดทำชุดเบิก หนังสือราชการและเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ในการเบิกจ่ายของโครงการและกิจกรรม (งบประมาณแผ่นดินและงบประมาณรายได้ที่ได้รับจัดสรรประจำปีงบประมาณ) ดังนี้

          1.1  สาขาวิชาสารสนเทศศึกษาและการจัดการสื่อดิจิทัล

          1.2  สำนักงานคณบดี

                   1) งานบริหารทั่วไป (ยกเว้นการจัดซื้อ จัดหา การควบคุมและการเบิกจ่ายวัสดุ)

                   2) งานบริการการศึกษา

  1. ตรวจสอบ กลั่นกรองเอกสารชุดเบิกโครงการเบื้องต้น ก่อนเสนอหัวหน้าพัสดุลงนาม
  2. วางแผนโครงการกิจกรรม ขออนุมัติโครงการกิจกรรม จัดทำชุดเบิก หนังสือราชการและเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องในการเบิกจ่ายของโครงการและกิจกรรม (งบประมาณเพิ่มเติม/งบกลาง/งบยุทธศาสตร์) ดังนี้

          3.1  โครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา (งบกลาง/แผ่นดิน)

          3.2  โครงการพัฒนาผ้าย้อมครามธรรมชาติบ้านก่อครามใต้ (งบยุทธศาสตร์/แผ่นดิน)

          3.3  โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน University as a Marketplace คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (งบยุทธศาสตร์/แผ่นดิน)

โทรศัพท์ 08-54628355

โทรศัพท์ 084-530-4980 FB : jariyaporn

เบอร์โทรศัพท์ : 09-5169-4163           FB : PookPick BungKlanakorn

โทรศัพท์ 09-81534015 FB : พิมมม’ มี่

โทรศัพท์ 08-33583090 FB : อุทุมพร สุระศักดิ์